--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ
ชื่อผู้แต่ง นิดดา หงษ์วิวัฒน์ ชื่อ ห้องเรียนของพ่อแม่ สถานที่พิมพ์กรุงเทพ สำนักพิมพ์ แสงแดดจำกัด
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...พ่อแม่มักถูกกล่าวโทษเสมอ
เมื่อเด็กก่อคดีขึ้นในสังคม เมื่อเด็กเป็นนักซิ่งเด็กหัวขโมย เด็กหัวรั้น นักต่อต้าน นักประท้วง ทุกคนก็กล่าวโทษเป็นความผิดของพ่อแม่ทั้งนั้น นักจิตรวิทยาตื่นตระหนก เมื่อเห็นสถิติเด็กวัยรุ่นมีปัญหาอารมณ์ไม่สมประกอบ ติดยาเสพติด ที่นับวันตัวเลขพุ่งสูงขึ้น อย่างน่าตกใจ
สิ่งแวดล้อมของเด็กทุกวันนี้ ล้วนเพิ่มภาระไห้พ่อแม่ เด็กจึงถูกเตรียมตัวไปเป็นวัยรุ่นแสนร้าย
ลูกเกิดมาเพียงเพือทำหน้าที่ของลูก ลูกจึงกลายเป็นภาระของพ่อแม่ แรงงานของลูกใช้ไม่ได้ในเชิงของการผ่อนเบาภาระช่วยพ่อแม่ ซึ่งผิดกับสมัยก่อน มิหนำซ้ำ พ่อแม่ยังต้องมีหน้าที่ทำตามกฏหมายที่จะต้องผลักดันไห้ลูกเล่าเรียนไห้ได้ครบตามขั้นตอนคือ ไห้การศึกษาขั้นต่ำจบชั้นประถมหก ในขณะที่โรงเรียนได้มาตรฐานไม่เพียงพอต่อเด็ก
แต่ถ้าลูกไมเรียนต่อ ลูกจะเป็นอะไร พ่อแม่ไม่มีทางเลือกมีทางเดียวกระเสือกกระสนทำทุกอย่างที่จะไห้ลูกได้เรียนสูงสุด ถ้าไม่ใช่ในประเทศก็นอกประเทศ นอกจากนั้นพ่อแม่ก็คิดไม่ออก ดูเหมือนการศึกษากลายเป็นกิจกรรมเพียงทางเดียวที่พ่อแม่ต้องเลือกไห้ลูก
ความต้องการของเด็ก เกินกว่าความจำเป็นในชีวิตประจำวัน ซึ่งถูกกระตุ้นด้วยสื่อโฆษนาทางโทรทัศน์ นิตยสาร และแผ่นป้ายโฆษนารวมตลอดถึงวิทยุ
สิ่งแวดล้อมเพื่อความคิดสร้างสรรค์ ที่เด็กทุกวัยต้องการมีน้อยเหลือเกินเมื่อเทียบกับประชากร
ห้างสรรพสินค้าจึงเกิดขึ้นมาเพื่อสนองตอบพลังงานอันเหลือเฟือของเด็ก กลายเป็นแหล่งจับกลุ่มของเด็กวัยรุ่น เป็นแหล่งแข่งขันของแฟชั่น เป็นแหกล่งนัดหมาย และแหล่งสินค้าอันไม่จำเป็นที่เด็กๆพากันฝันถึง
นี่เองที่เป็นที่มาของหนังสือเล่มนี้ ห้องเรียนของพ่อแม่ อันเป็นแหล่งหนึ่งสำหรับ ฝึกฝนตนเองไห้เป็นพ่อแม่ที่มีประสิทธิภาพในยุคสมัยนี้การเป็นพ่อแม่ เพื่อเสริมส่งลูกๆ ไห้พัฒนาเต็มขั้นตามความสามารถความฉลาด จำเป็นที่พ่อแม่จะต้องเรียนรู้อย่างยิ่ง
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันสอดคล้อง 9 ข้อพ่อสอนไว้ นิสัยแห่งความดีด้านต่างๆดังนี้
1. ความเพียร พ่อแม่ตั้งใจเลี้ยงลูก ขยันอดทน ต้องเอาใจใส่ มีเวลาอบรมสั่งสอนลูกในทางที่ดี
2. ความพอดี พ่อแม่ควรบังคับลูกแต่พอดี หากบังคับหรือกดดันมากเกินไป จะทำไห้ลูกรู้สึกเก็บกดและไม่อยากคุยกะพ่อแม่เพราะคิดแค่ว่าพ่อแม่เป็นเพียงผู้คุมทำไห้ความรู้สึกดีๆของครอบครัวขาดหายไป
3. ความรู้ตน เช่น พ่อแม่จะต้องรู้ว่าลูกชอบอะไร รักสิ่งใด จะได้สนับสนุนลูก
4. คนเราจะต้องรับ และจะต้องไห้ พ่อแม่ต้องรับฟังความคิดเห็นของลูกๆ และต้องไห้คำแนะนำที่ดีต่อลูก
5. อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ เช่น พ่อแม่ควรพูดดีๆกับลูก และลูกก็ควรอ่อนน้อมต่อพ่อแม่
6. พูดจริงทำจริง พ่อแม่ควรตั้งกฎเกณฑ์ในการใช้ชีวิตของลูก แต่ไม่ควรมากเกินไปและเมื่อลูกทำความผิด ก็ควรลงโทษอย่างเหมาะสมและไม่รุนแรงจนเกินไป
7. หนังสือเป็นออมสิน พ่อแม่มือใหม่ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงลูก เช่น อ่านจากหนังสือ ค้นหาจากเว็ปต่างๆหรือ ถามจากคนที่มีประสบการณ์มาก่อน
8. ความซื่อสัตย์ เช่นเมื่อลูกกระทำความผิดก็ควรจะบอกพ่อแม่ไห้รู้ ไม่ควรที่จะโกหกหรือปิดเอาไว้ เพราะพ่อแม่อาจจะช่วยแก้ไขปัญหาของเราได้
9. การเอาชนะใจตน เช่น พ่อแม่ควรเข้าใจลูก ให้ลูกได้ทำในสิ่งที่ตัวเองชอบบ้าง ไม่ใช่บังคับเขาจนหมดทุกเรื่อง
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันสอดคล้อง 9 ข้อพ่อสอนไว้ นิสัยแห่งความดีด้านต่างๆดังนี้
1. ความเพียร พ่อแม่ตั้งใจเลี้ยงลูก ขยันอดทน ต้องเอาใจใส่ มีเวลาอบรมสั่งสอนลูกในทางที่ดี
2. ความพอดี พ่อแม่ควรบังคับลูกแต่พอดี หากบังคับหรือกดดันมากเกินไป จะทำไห้ลูกรู้สึกเก็บกดและไม่อยากคุยกะพ่อแม่เพราะคิดแค่ว่าพ่อแม่เป็นเพียงผู้คุมทำไห้ความรู้สึกดีๆของครอบครัวขาดหายไป
3. ความรู้ตน เช่น พ่อแม่จะต้องรู้ว่าลูกชอบอะไร รักสิ่งใด จะได้สนับสนุนลูก
4. คนเราจะต้องรับ และจะต้องไห้ พ่อแม่ต้องรับฟังความคิดเห็นของลูกๆ และต้องไห้คำแนะนำที่ดีต่อลูก
5. อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ เช่น พ่อแม่ควรพูดดีๆกับลูก และลูกก็ควรอ่อนน้อมต่อพ่อแม่
6. พูดจริงทำจริง พ่อแม่ควรตั้งกฎเกณฑ์ในการใช้ชีวิตของลูก แต่ไม่ควรมากเกินไปและเมื่อลูกทำความผิด ก็ควรลงโทษอย่างเหมาะสมและไม่รุนแรงจนเกินไป
7. หนังสือเป็นออมสิน พ่อแม่มือใหม่ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงลูก เช่น อ่านจากหนังสือ ค้นหาจากเว็ปต่างๆหรือ ถามจากคนที่มีประสบการณ์มาก่อน
8. ความซื่อสัตย์ เช่นเมื่อลูกกระทำความผิดก็ควรจะบอกพ่อแม่ไห้รู้ ไม่ควรที่จะโกหกหรือปิดเอาไว้ เพราะพ่อแม่อาจจะช่วยแก้ไขปัญหาของเราได้
9. การเอาชนะใจตน เช่น พ่อแม่ควรเข้าใจลูก ให้ลูกได้ทำในสิ่งที่ตัวเองชอบบ้าง ไม่ใช่บังคับเขาจนหมดทุกเรื่อง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น